
แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำในจังหวัดสกลนคร
แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform : PPAP) หมายถึง กระบวนการ ระบบ และกลไกในการนำครัวเรือนยากจนออกจากความยากจนอย่างเบ็ดเสร็จ โดยมีองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ 1) การสร้างกลไกความร่วมมือ 2) การพัฒนาระบบข้อมูลครัวเรือนยากจนแบบชี้เป้า 3) การพัฒนาระบบส่งต่อความช่วยเหลือแบบมุ่งเป้า 4) การสร้างโมเดลแก้จนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี และ 5) การเชื่อมโยงสู่ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาระดับจังหวัดและท้องถิ่น ซึ่งมหาวิทยาลัยมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาความยากจนคือ การจัดตั้งศูนย์ประสานงานแก้ไขปัญหาความยากจน
ผลการดำเนินงานโครงการวิจัย ปี 2563 - 2567
ปี 2563-2565 กุดบากโมเดล
ปี 2566 การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อยกระดับแพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำในจังหวัดสกลนคร
- รายละเอียดชุดโครงการ
- รายละเอียดโมเดลแก้จนเกษตรมูลค่าสูง
- กิจกรรมวิจัยโมเดลแก้จนเกษตรมูลค่าสูง
- ผลการดำเนินงานโมเดลแก้จนเกษตรมูลค่าสูง
ปี 2567 การพัฒนาและยกระดับจังหวัดสกลนครสู่พื้นที่วิจัยยุทธศาสตร์เพื่อขจัดความยากจน และสร้างโอกาสทางสังคมด้วยวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ปี 2568 ปรับโฉม สกลนคร ด้วยวิจัยและนวัตกรรม: ยกระดับสู่พื้นที่ยุทธศาสตร์เพื่อขจัดความยากจนอย่างยั่งยืน
เกี่ยวกับแพลตฟอร์มขจัดความยากจน บพท.
{fullWidth}